September 18, 2024

admin

ศาสนายูดาห์ กับศาสนาของชาวยิว

ประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้เราได้ยินชื่อ ชาวยิว ที่เยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้สั่งฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวตายไปถึง 5 ล้านคน แท้จริงแล้วยิวเป็นชนชาติของอิสราเอลหรือในสมัยก่อนเรียกว่าชนเผ่าฮิบบรู ซึ่งในคัมภีร์ฮิบบรู ได้ระบุไว้ว่า ชาวยิวคือชนชาติ (more…)

ลัทธิเต๋า จากความเชื่อสู่สมดุลของธรรมชาติ

เต๋า เป็นนามธรรม เกิดจากความเชื่อถือบูชาธรรมชาติ เต๋าในความหมายปรัชญาของศาสนา หมายถึง สิ่งที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งเป็นที่กำเนิดของสิ่งทั้งปวง ทั้งจักรวาล โลก ชีวิต ผู้ที่ก่อตั้งลัทธินี้คือหลีโอว หรือ ที่เรียกกันว่าเล่าจื้อ เล่าจื้อเป็นนักปรัชญาและเป็นศาสดาของลัทธิเต๋า (more…)

ลัทธิขงจื๊อ คืออะไร และมีแนวคิดเช่นไร

          ขงจื้อ เป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงในจีน เป็นผู้สั่งสอนและเขียนตำรา ในสมัยที่ขงจื้อมีชีวิตไม่ได้ถือว่าคำสอนนั้นเป็นศาสนา แต่หลังจากที่ขงจื้อสิ้นไป ผู้ที่ศรัทธาในคำสอนมีมากขึ้น จึงเกิดเป็นลัทธิ หรือศาสนาขงจื้อ (more…)

ประวัติ และ ความเป็นมา ของศาสนา ชินโต

หากคุณไปที่ประเทศญี่ปุ่น สิ่งที่เห็นได้ชินตา คือประตูเสาไม้สองเสาไม้สองอันพาดอยู่ด้านบนสีแดง  หรือที่เรียกว่าโทริ แสดงว่าบริเวณนั้นคือศาลเจ้าซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาชินโต โทรินั้นมีมากมายเหลือเกิน นั่นหมายถึงคนญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยเลยที่นับถือศาสนานี้ ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงประวัติ ความเป็นมาของศาสนาชินโตกัน (more…)

ประวัติความเป็นมาของโบสถ์หรือวิหารใน Saint Petersburg

Saint Petersburg  เป็นเมืองจากประเทศรัสเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ บริเวณปากแม่น้ำ Neva  ริมอ่าวFinland ในทะเล Baltic เมืองแห่งนี้สร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อปี ค.ศ. 1703 เริ่มสร้างจากการถมทรายกับหินเป็นจำนวนมาก เนื่องจากพื้นที่เดิมบริเวณนี้เป็นดินเลนทะเล ส่วนการที่พระองค์ทรงเลือกสร้างเมือง ณ บริเวณนี้เพราะว่ามีทางออกสู่ทะเล Baltic อีกทั้งยังสามารถติดต่อกับทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้โดยง่าย...

ประวัติ และความเป็นมาของวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

พระปฐมเจดีย์ เป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญและทรงคุณค่าของจังหวัดนครปฐม ประวัติของพระปฐมเจดีย์มีมี่มายาวนานและเชื่อกันว่าพระปฐมเจดีย์เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย ความเป็นมาของพระปฐมเจดีย์กล่าวกันว่า เริ่มต้นเมื่อสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงส่งคณะสมณฑูตเดินมทางมาจากประเทศอินเดีย ผ่านมายังดินแดนแห่งนี้เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา และผู้ที่เดินทางมาถือพระมหาเถรที่ชื่อว่าพระอุตตระเถระ ได้ทรงมาตั้งรกรากเพื่อเผยแผ่คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่นี่เป็นเวลาในช่วงพุทธศตวรรตที่ 3 ก็คือในช่วงปี พ.ศ. 200-299 นั่นเอง พระปฐมเจดีย์ได้ถูฏสร้างขึ้นโดยความตั้งใจของพระอุตตระเถระในเวลานั้น ลักษณะของพระปฐมเจดีย์เป็นพระเจดีย์ที่เอาแบบมาจาก เจดีย์สาญจิแห่งประเทศอินเดีย รูปทรงเป็นบาตรคว่ำ   ครั้งเมื่อพระจอมเกล่าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4...

มัสยิด ศาสนสถานที่เป็นแหล่งรวมใจของชาว

หากจะนึกถึงสถานที่ที่เป็นศาสนสถานและศูนย์รวมใจของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลามแล้วก็คงต้องเอ่ยถึงชื่อสถานที่ที่เรียกกันว่า มัสยิด มัสยิดเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมในรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ คือมีหลังคาทรงโดมผสมผสานกับตัวอาคารทรงเหลี่ยมที่ดูน่าเกรงขามและมั่นคง ประตูและหน้าต่างทรงโค้ง มัสยิด เป็นคำที่ใช้เรียกวิหารของอิสลาม มาจากภาษาอาหรับ มีความหมายว่า สถานที่แห่งการกราบ  มัสยิดเป็นศาสนสถานของชุมชนที่สร้างขึ้นเพื่อทำศาสนกิจและประกอบพิธีกรรมของชาวมุสลิม เช่น การละมาด การดุอา หรืออธิษฐานวิงวอนทั้งยังใช้เป็นที่สอนคัมภีร์อัลกุรอ่านแก่ชาวมุสลิม เป็นสถานที่จัดเลี้ยง พบปะสังสรรค์ทำกิจกรรมกันในชุมชนมุสลิม ประกอบพิธีแต่งงาน ทำบุญ และยังเป็นสถานที่พักพิงของคนไร้บ้านอีกด้วย...

พระอุโบสถ แตกต่างกับวิหารอย่างไร

ประเทศไทยของเราได้ชื่อว่าเป็นเมืองพุทธ เพราะหากจะดูตามประชากรในประเทศของเราเกือบทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ มากกว่า 95% ในสายตาของคนทั่วโลกก็มองว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะไปที่ไหน ส่วนใดของประเทศไทยก็จะพบกับวัดวาอารามอยู่ทั่วไปหมด วัดแต่ละภูมิภาคก็มีทั้งที่เหมือนและแตกต่างกันในด้านของสถาปัตยกรรมและการตกแต่ง แต่สิ่งที่คนส่วนใหญ๋อาจจะยังไม่รู้ความแตกต่างที่ชัดเจน แม้ว่าจะเข้าออกวัดกันมาตั้งแต่จำความได้ก็คือ ความแตกต่างระหว่าง พระอุโบสถ หรือโบสถ์ กับวิหาร หรือบางคนอาจจะเข้าใจผิดว่าจะโบสถ์หรือวิหารก็เป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่แห่งเดียวกัน แต่นั่นเป็นความเข้าใจที่ผิด   พระอุโบสถ กับ วิหารมีความแตกต่างกัน...

โบสถ์และวิหารแตกต่างกันอย่างไร

  สำหรับคนไทยที่นับถือพระพุทธศาสนาหรือถูกเรียกว่าพุทธศาสนิกชนทุกคนเป็นเรื่องปกติที่เราจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับวัดมาตั้งแต่เด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นการเกิดที่หลายๆ ครอบครัวมักให้พระเป็นคนดูดวงชะตา ตั้งชื่อให้ การทำบุญวันเกิดที่ทุกปีคนส่วนใหญ่หากไม่ใส่บาตรก็มักจะชอบไปทำบุญที่วัด ชายไทยทุกคนเมื่ออายุเกิน 20 ปีบริบูรณ์ก็ต้องเข้าพิธีอุปสมบทเพื่อเรียนรู้ในพระพุทธศาสนา หรือแม้แต่ตอนเสียชีวิตก็ต้องมีการจัดพิธีกรรมต่างๆ ที่วัดอีกเช่นเดียวกัน จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่วัดคือสถานที่สำหรับชาวพุทธอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามเมื่อพูดถึงวัดน่าจะมีใครหลายคนเกิดความสงสัยอยู่ไม่มากก็น้อยถึงสถานที่ต่างๆ ภายในวัดที่แม้จะเป็นชื่อเรียกที่ถูกเรียกกันมาอย่างยาวนานแต่มีใครพอจะแยกออกหรือไม่ว่า ระหว่างโบสถ์กับวิหาร มีความแตกต่างกันอย่างไร เมื่ออ่านมาจนถึงบรรทัดนี้เชื่อว่าผู้ที่อ่านอยู่ก็น่าจะมีการหยุดและคิดสักนิดว่ามันมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จริงแล้วศัพท์ทั้ง 2 คำนี้มันมีความหมายที่แตกต่างกันทั้งในด้านของสถาปัตยกรรมและการใช้งานด้วย...